สุวรรณหังสชาดก ชาดกว่าด้วยความโลภ
เหล่าภิกษุณีได้นำกระเทียมภายในไร่ของอุบาสกซึ่งออกปากถวายไว้แล้ว กลับวิหารเชตวันอย่างมากมายไม่รู้จักประมาณ พฤติกรรมอันโลภมากนั้นไม่สมควรทำ เมื่อคนเฝ้าไร่พากันตำหนิเหล่าสงฆ์ในพระวิหารก็พลอยอับอายและโกรธเคืองไปด้วย
กัณหทีปายนชาดก ชาดกว่าด้วยความรักที่มีต่อบุตร
“ เมื่อตอนแรกที่เราบวช เรายินดีประพฤติพรหมจรรย์ได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จากนั้นแม้เราไม่ยินดีก็ทนประพฤติพรหมจรรย์ถึง ๕๐ กว่าปี ด้วยความสัตย์อันนี้ ขอให้ยัญญทัตตกุมารจงรอดชีวิตเถิด ” มัณพัพยะได้ถามถึงสาเหตุที่ทีปายนดาบสฝืนประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่ยอมสึกมาครองเรือน “ ถ้าท่านไม่ยินดีประพฤติพรหมจรรย์ แล้วทำไมท่านไม่ออกมาครองเรือนหละ ” “ เพราะเราไม่อยากให้ใครว่าเราเป็นคนเหลวไหล กลับกรอกนะสิ
ทัพพปุบผาชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของการโต้เถียงกัน
“ เป็นไงล่ะ ได้แต่ทะเลาะกันอยู่ได้ เห็นไหมส่วนลำตัวเลยกลายเป็นของเจ้าสุนัขจิ้งจอกไปเลย อดหม่ำกันทั้งสองตัวเลยเรา ” “ อดเลยเรา เราทั้งสองไม่น่าทะเลาะกันเลยเนอะ ที่จริงเรามาทานที่ลำตัวด้วยกันก็ได้นี่น่า ” “ นั่นนะสิ ไม่น่าเลย ” “ เพราะเรามาทะเลาะกัน ปลาชิ้นนั้นก็เลยตกเป็นของเข้าสุนัขจิ้งจอกไปเลย เจ็บใจจริง ๆ ไม่น่ามาทะเลาะกันเลย ”
อุจฉังคชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงผู้มีใจรักพี่รักน้อง
หญิงสาวชาวนาจำเป็นต้องเลือกขอชีวิต สามี พี่ชาย และลูกชายได้เพียงคนเดียวเท่านั้น นางจึงได้ชี้แจงต่อพระราชาไปว่า “ ขอเดชะพระองค์ผู้เป็นราชาเทพ อันบุตรนั้นย่อมเกิดในครรภ์เหมือนอยู่ในพกในห่อ หม่อมฉันย่อมให้กำเนิดบุตรเองได้ อันสามีเล่าหากต้องการ เมื่อเดินไปตามทาง ย่อมหาได้ไม่ยาก แต่โอกาสจะมีพี่น้องร่วมท้องพ่อแม่เดียวกัน หม่อมฉันมองไม่เห็นทาง เพราะพ่อแม่ได้เสียชีวิตไปแล้ว ”
กุมมาสปิณฑชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ถวายขนมกุมมาส
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัยในการแย้มสรวลของพระองค์ ” “ ดูกร อานนท์ กุมาริกาผู้นี้จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศลในวันนี้ทีเดียว เพราะผลแห่งการถวายก้อนขนมกุมมาสเหล่านี้ ”
กูฏวาณิชชาดก ชาดกว่าด้วยหนามยอกเอาหนามบ่ง
นายบัณฑิตนั้นไม่ใช่คนโง่ เขาสังเกตเห็นพิรุจหลายอย่างจึงคิดพิสูจน์ว่ารุกขเทวดาที่ต้นไม้นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ “ สหายจะให้เราเชื่อเช่นนั้นก็ได้ แต่เราขอพิสูจน์ให้แน่ใจก่อนนะ ” นายบัณฑิตได้เดินไปเก็บฟืนแล้วนำกองไว้ที่โคนต้นไม้ จุดไฟเผาในโพรงไม้นั้น “….เดี๋ยวเถอะจะได้รู้กันว่าเทวดาจริงหรือเทวดาปลอมกันแน่...”
กัจจานิโคตตชาดก ชาดกว่าด้วยในการไหน ๆ ธรรมย่อมไม่ตาย
" ธรรมะคงตายไปจากโลกนี้แล้ว ไม่อย่างนั้นคนจิตใจชั่วอย่างสะใภ้ของเราคงไม่มีลูก และคงไม่มีความสุขเช่นนี้ ” วันหนึ่งหญิงชราได้นำข้าวของได้แก่ งา แป้ง ข้าวสาร ทัพพี ถาด และศีรษะมนุษย์ที่ตายแล้ว ๓ ศีรษะมาทำเตาไฟ เพื่อทำพิธีถวายมตกภัตแก่ธรรมในป่าช้า ด้วยเข้าใจว่าธรรมได้ตายไปแล้ว นางเริ่มก่อไฟแล้วลงน้ำสระผม บ้วนปาก สยายผม จากนั้นจึงเริ่มซาวข้าวเพื่อถวายมตกภัตแก่ธรรม
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2563 สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย
ขอแสดงมุทิตาสักการะพระภิกษุ - สามเณร ผู้สอบผ่าน บาลีสนามหลวง เปรียญธรรมประโยค ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙ และ บาลีศึกษา ๑, ๒, ๓, ๕, ๙ สำนักศาสนศึกษาวัดพระธรรมกาย สำนักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี ประจำปี พ.ศ ๒๕๖๓
นันทิวิสาลชาดก ชาดกว่าด้วยการใช้วาจาไพเราะ
โคนันทิวิสาลได้กำลังใจจากพราหมณ์ ทำให้มีพลังใจมากมายประกอบกับชาวบ้านเมื่อเห็นภาพของพราหมณ์ที่พูดจาไพเราะให้กำลังใจโคของเขา จากที่เคยขบขันก็เกิดเป็นความประทับใจ พลอยให้กำลังใจเจ้าโคไปด้วย โคผู้กตัญญูรู้คุณออกแรงลากจนล้อเกวียนเริ่มหมุน เกวียนทุกเล่มก็เคลื่อนที่ตาม ๆ กัน
ขุรปุตตชาดก ชาดกว่าด้วยการทำตนให้ไร้ประโยชน์
พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ถูกภรรยาเก่าโลมเร้า แล้วทรงซักถามภิกษุนั้น “ จริงหรือภิกษุ ได้ทราบว่าเธอกระสันอยากสึก ” “ จริงพระเจ้าค่ะ ” “ เธอกระสันอยากสึกเพราะเหตุอะไร ” “ เพราะภรรยาเก่าพระเจ้าค่ะ ” “ ดูกรภิกษุหญิงนี้ทำสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เธอไม่เฉพาะในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อนเธอกำลังจะกระโดดเข้าไฟตายเพราะอาศัยหญิงนี้ แต่อาศัยบัณฑิตจึงได้ชีวิตไว้ ”